วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร
"ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร"
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสื่อสาร
      1. ความหมายของการสื่อสาร
      2. ความสำคัญของการสื่อสาร
      3.  องค์ประกอบของการ สื่อสาร
      4.  หลักในการสื่อสาร

      5.  วัตถุประสงค์ในก...อ่านเพิ่มเติม

การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง

การพัฒนาสมรรถภาพการฟัง
1. สร้างความสนใจและความต้องการที่จะฟัง ผู้ฟังที่ดีต้องให้ความสนใจกับเรื่องที่ฟังแม้ว่าเรื่องที่ฟังจะ ไม่ตรงกับความสนใจของตนเองก็ตาม ผู้ฟังต้องรู้หัวข้อเรื่องรวมทั้งจุดประสงค์ว่าฟังเพื่ออะไร
2. ฟังด้วยความตั้งใจ เป็นการฟังอย่างมีสมาธิ จิตใจจดจ่อกับเรื่องที่ฟัง
3. จับใจความสำคัญของเรื่องและคิดวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องราวที่ฟัง

   1. จับใจความให้ได้ว่า เ...อ่านเพิ่มเติม

การพูดขั้นพื้นฐาน

การพูดขั้นพื้นฐาน
ความรู้พื้นฐานในการพูด

  เพื่อให้การพูดประสบความสาเร็จ
 ผู้พูดควรมีความรู้พื้นฐานในการพูด
ดังต่อไปนี้ ประเภท
ของการพูด
 ประเภทของการพูดแบ่งตาม
ลักษณะการพูดได้ 2 ประเภท ดังนี้
1การพูดอย่างไม่เป็นทางการ
คือ การพูดในชีวิตประจำวัน
 เช่น การสนทนา การพูดโทรศัพท์

 2.   การแนะนำตัว การซักถาม การตอบ...

การสื่อสารผ่านจดหมาย

การสื่อสารผ่านจดหมาย

การเขียนจดหมาย
 การเขียนจดหมายเป็นวิธีสื่อสารที่เป็นลา
ยลักษณ์อักษรแทนการพูด  ถึงแม้ในปัจจุบันเทคโนโลยีสื่อสารมี
ให้เลือกสื่อสาร
ได้หลายช่องทาง  แต่จดหมายก็ยังมีความจำเป็นอยู่มาก
 ประเภทของจดหมาย   แบ่งออกเป็น 4 ประเภท  ดังนี้
1.  จดหมายส่วนตัว  เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อระหว่างบุคคล
คุ้นเคยกัน  อาจเป็นญาติสนิท  ครู  อาจารย์  เพื่อไต่...อ่านเพิ่มเติม

การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง

การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง
การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง  มีหลักอยู่  ๓  ประการ    คือ
๑. พัฒนาตนเองด้านความรู้
๒. พัฒนาตนเองด้านอารมณ์
๓. พัฒนาตนเองด้านคุณธรรม
การอ่านเพื่อพัฒนาความรู้        แบ่งออกเป็น
๑. ความรู้ทั่วไปหรือความรู้รอบตัว
๒. ความรู้เฉพาะ (คือความรู้ที่เกี่ยวกับอาชีพของตน)

ไม่ว่าจะเป็นการอ่านเกี่ยวกับคอ่านเพิ่มเติม

วันพุธที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2559

การย่อความ

        คือ การจับใจความสำคัญ จับประเด็นสำคัญของเรื่องที่ได้อ่าน ได้ฟังหรือได้ดูมาอย่างย่อๆแล้วนำมาเรียบเรียงใหม่ให้ได้ความครบถ้วน สั้น กระชับ ด้วยสำนวนภาษาของตนเอง...อ่านเพิ่มเติม

การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง

การอ่านเพื่อพัฒนาตนเอง  มีหลักอยู่    ประการ    คือ
๑. พัฒนาตนเองด้านความรู้
๒. พัฒนาตนเองด้านอารมณ์
๓. พัฒนาตนเองด้านคุณธรรม
การอ่านเพื่อพัฒนาความรู้        แบ่งออกเป็น
๑. ความรู้ทั่วไปหรือความรู้รอบตัว
๒. ความรู้เฉพาะ (คือความรู้ที่เกี่ยวกับอาชีพของตน)

ไม่ว่าจะเป็นการอ่านเกี่ยวกับคอ่านเพิ่มเติม

เรื่อง นิทานเวตาล(เรื่องที่10)

ความเป็นมา
                นิทานเวตาล ฉบับนิพนธ์ พระราชวงศ์เธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ มีที่มาจากวรรณกรรมสันสกฤตของอินเดีย  โดยมีชื่อเดิมว่า “เวตาลปัญจวิงศติ” ศิวทาสได้แต่งไว้ในสมัยโบราณ

                  ต่อมาได้มีผู้นำนิทานเวตาลทั้งฉบับภาษาสันสกฤตและภาษาฮินดีมาแปลเป็นภาษาอังกฤษ โดยร้อยเอก เซอร์ ริชาร์ด เอฟ. เบอร์ตัน  ก็ได้นำมาแปลและเรียบเรียงแต่งแปลงเป็นสำนวนภาษาของตนเองให้คนอังกฤษอ่าน แต่ไม่ครบทั้ง 25 เรื่อง...อ่านเพิ่มเติม

คำนมัสการคุณานุคุณ

 คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเยาวชนไทย ยึดมั่นในความกตัญญูต่อผู้มีพระคุณและนำแบบอย่างอันดีงามไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้...อ่านเพิ่มเติม

เรื่อง นิราศนริทร์คำโคลง

ความเป็นมา
      นิราศ เป็นงานประพันธ์ประเภทหนึ่งของไทยที่มีมาตั้งแต่สมัยโบราณ เท่าที่ปรากฏหลักฐานในปัจจุบัน นิราศเรื่องแรกของไทยนั้นคือ โคลงนิราศหริภุญชัย ซึ่งแต่งในสมัยกรุงศรีอยุธยา
๑.๑ ลักษณะของนิราศ

      พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒ อธิบายว่า นิราศ” หมายถึง .เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปใน...อ่านเพิ่มเติม